Category: Conversation l บทสนทนา

  • การตั้งค่าข้อความที่บอทตอบไม่ได้

    สำหรับบทสนทนาที่บอทตอบไม่ได้นั้น มีไว้เพื่อนหากลูกค้าพิมพ์คำที่เราไม่ได้ตั้งค่าไว้ บอทจะมีข้อความตอบกลับ ไม่เงียบหายไป วิธีที่ 1 ใส่ใน”บทสนทนาที่บอทตอบไม้ได้” สามารถทำได้โดยเข้าไปที่ แถบ Conversation และเลื่อนลงจะสุดหน้า จะพบกับแถบ “บทสนทนาที่บอทตอบไม้ได้” วิธีการตั้งค่า ก็เหมือนกับการที่เราตั้งค่าในบทสนทาปกติ โดยจะมีแถบให้ใส่คำตอบของแชทบอท อาจตั้งเป็นข้อความที่แจ้งว่าต้องการติดต่อ Admin เป็นต้น ตัวอย่างคำตอย วิธีที่ 2 การใส่ {default} วิธีนี้ คือทำการใส่ {default} ในฝั่งของ Costumer Say เหมือนเป็นการบังคับว่าหาก User ตอบอะที่ไม่ถูกต้องหรือที่เทรนไว้นั้น ก็จะถือเป็นคำตอบที่ผิดทั้งหมด มักใช้ร่วมกับ การตั้ง Context in / Context Out เพื่อให้ User คงอยู่ใน Flow ที่วางไว้

  • วิธีการตั้งค่าและใช้ข้อมูล Status และ Tags

    Status  – มีไว้เพื่อแจ้งว่า ลูกค้าจะมีสถานะอะไรเมื่อส่งข้อความมาตามบบทสนทนานี้Tags – มีไว้สำหรับติดป้ายกำกับลูกค้า การตั้งค่าในส่วนนี้จะอยู่ในเมนู Advanced คือส่วนการตั้งค่าเพิ่มเติม เป็นส่วนเสริมสำหรับการตั้งค่าเชิงลึกที่จะใช้ในบทสนทนานั้น อยู่ในส่วนของ ลูกค้า หรือ Customer แล้ว “สถานะ” กับ “ป้ายกำกับ” ต่างกันอย่างไร? การติดสถานะ (Status) จะแสดงต่อเมื่อคำล่าสุดที่ลูกค้าพิมพ์และตรงกับบทสนทนาที่เราเซ็ทเอาไว้ เพื่อเป็นการแสดงสถานะต่างๆ“สถานะ” สามารถตั้งค่าได้เพียง 1 สถานะต่อ 1 บทสนทนา โดยสถานะจะทำการอัพเดตเป็นของบทสนาทนาล่าสุดที่เราตั้งเอาไว้เสมอ ป้ายกำกับ (Tag) จะเสมือนเป็นการจัดป้ายกำกับให้กับลูกค้า จะแสดงเป็นคำทั้งหมดที่ลูกค้าเคยพิมพ์และตรงกับบทสนทนาที่เราเซ็ทป้ายกำกับเอาไว้“ป้ายกำกับ” สามารถตั้งค่าได้มากกว่า 1 คำต่อบทสนทนา และระบบจะเก็บป้ายกำกับทุกอันไว้ ตัวอย่างการตั้งค่า

  • ความแตกต่างระหว่าง ประโยค / คีย์เวิร์ด / เหมือนกับ และส่วนเพิ่มเติม

    ข้อความที่ลูกค้าจะพิมพ์เข้ามา  เมื่อเรื่องสร้าง Conversation กด (+เพิ่ม) แล้วและจะต้องป้อนข้อมูลโดยการพิมพ์คำหรือประโยคที่คิดว่าลูกค้าจะถาม ในส่วนนี้จะมีให้ผู้ใช้สามารถตั้งค่าได้ถึง 3 แบบ: ประโยค / คีย์เวิร์ด / เหมือนกับ ผู้ใช้สามารถพิมพ์คำที่คิดว่าลูกค้าจะพิมพ์มาหาเราในครั้งแรกลงไปได้เลย โดยส่วนใหญ่มักใช้เป็นคำสั้นๆ เช่น สวัสดีค่ะ สวัสดีครับ ผู้ใช้สามารถเลือกใช้เป็นแบบเพิ่มคีย์เวิร์ด นอกจากนี้ยังสามารถใช้คำอื่น ๆ เช่น Main Menu, เมนูหลัก, เมนู ลงไปด้วยเพราะข้อความต้อนรับส่วนใหญ่ก็เปรียบเสมือนเมนูหลักของเพจเช่นกัน ความต่างของ ประโยค//คีย์เวิร์ด//เหมือนกับ ที่ผู้ใช้จะต้องเลือกให้เหมาะสม ดังนี้ ประโยค – ผู้สนทนาสามารถพิมพ์แบบประโยคยาว ๆ มาได้ โดยบอทจะสามารถตรวจจับจากความคล้ายคลึงได้ โดยระบบจะอิงคำที่เหมือนกันในประโยคนั้น 80% การพิมพ์ประโยคไปได้เยอะๆเพื่อให้บอทตอบได้แม่นยำขึ้น ตัวอย่าง: ตั้งค่าว่า: “สอบถามค่าบริการสินค้าหน่อยค่ะ” หากลูกค้าพิมพ์มาว่า “สอบถามค่าบริกานจ่ะ” กรณีนี้ถึงแม้ว่า ลูกค้าพิมพ์คำว่า “บริกาน” ผิด และใช้คำว่า “จ่ะ” แทนคำว่า “ค่ะ” เหมือนที่เราตั้งค่าไว้ บอทก็ยังเข้าใจและตอบกลับได้ คีย์เวิร์ด – คำสั้นๆ ถ้ามีคำนี้ในประโยคบอทก็จะตอบตามที่ตั้งค่าคำตอบไว้ สามารถพิมพ์ && (ความหมายเหมือนกับคำว่า’และ’) เพื่อใช้ประโยคที่มีคำเหล่านั้น และระบบยังสามารถอ่านจากคำที่สลับตำแหน่งกันได้อีกด้วย […]

  • “Conversation (บทสนทนา)” คืออะไร ?

    ตั้งค่าบทสนทนา CONVERSATION  ถือเป็นหัวใจหลักของ CHATBOT เลยก็ว่าได้เพราะมันเป็นส่วนที่จะตั้งค่าทั้งหมดว่าจะให้ Bot ตอบยังไงในแต่ละคำหรือประโยคที่เจอ เมนูบทสนทนา (Conversation) เอาไว้สำหรับทำการตั้งค่าการตอบกลับของบอทตามรูปแบบประโยคต่าง ๆ ที่ผู้สนทนาส่งเข้ามา ผู้ใช้จะต้องทำการตั้งค่า 2 ส่วนหลัก ๆ ได้แก่ การคาดคะเนว่าผู้ที่เข้ามาใช้งานจะพิมพ์มาว่าอย่างไร และตั้งค่าเอาไว้ว่าถ้าผู้ที่ใช้งานพิมพ์มาแบบนั้นจะให้บอทตอบว่าอย่างไร รวมไปถึงทุกครั้งที่มีการสร้างปุ่มกด และคำตัวเลือก ต้องมาตั้งค่าคำตอบของบอทในหน้าบทสนทนาเสมอ ดังนั้นตั้งค่าบทสนทนา (Conversation) จึงถือว่าเป็นหัวใจหลักของ chatbot เลยก็ว่าได้เพราะมันเป็นส่วนที่จะตั้งค่าทั้งหมดว่าจะให้ Bot ตอบอย่างไรในแต่ละคำหรือประโยคที่พบ ส่วนที่ 1. เดาว่าลูกค้าจะพิมพ์มาว่าอะไร ส่วนที่ 2. ตั้งค่าเอาไว้ว่าถ้าลูกค้าพิมพ์มาแบบนั้นจะให้บอทตอบว่าอะไร ตัวอย่างเช่น หน้าบทสนทนาจะขึ้นมาแบบนี้ เราสามารถเริ่มต้นการตั้งค่าบทสนทนาได้จาก (กดปุ่มเพิ่มบทสนทนา) แนะนำส่วนต่างๆ จะมีหน้าต่างขึ้นมาแบบนี้ ซึ่งจะประกอบไปด้วย 5 ส่วนใหญ่ๆด้วยกันคือ 1. ชื่อบทสนทนา    ไอเดียตัวอย่างหัวข้อบทสนทนา ● หัวข้อ: ค่าบริการ            […]